Veteran IT company set sights on AEC

CDG Admin
19-07-2013

Asina Pornwasin

The Nation June 25, 2013

CDG Group, a Thai company that has been in the IT business for 45 years, aims to be among the top-10 IT firms in Asean by 2015.

Nart Liuchareon, who has been the company ‘s chief executive officer for 27 years, has targeted 15 per cent of revenue from the ASEAN Economic Community, which comes into effect in 2015, in the next five years. In the near future, the group also has plans to open an office in Myanmar.

AEC

Nart said the company would expand in the region once the AEC is born in 2015. The company would export its successful products to governments in Asean.

With CDG ‘s experience, specialisation, and knowledge, the group is confident of effectively providing IT service solutions to customers in the ASEAN market.

“CDG Group will aim to make inroads in the region by continuously providing effectively standardised works, including improvement of knowledge and competency of personnel and operation methods to achieve the most efficiency. We are putting efforts to create a strong ASEAN partnership network to strengthen the group ‘s business and also expand our markets,” said Nart.

CDG Group is one of only a few Thai IT companies that have survived the march of technology and business models. Throughout its 45 years, CDG has been dynamic and managed to maintain its competitiveness even during times of change and crisis.

Nart said a dynamic strategy was the key behind the group’s strong competitiveness for 45 years, and now it is preparing itself for the wider ASEAN region.

“The key strategy is called distributed model – to grow and then spin off. Our organisation does not have too many levels of management. We expand the business with the spin-off model rather than increase the number of businesses under the same company. We want our business as a whole to be fast moving, dynamic and competitive. This model also helps us to preserve our resources,” said Nart.

CDG Group started as Control Data (Thailand) 45 years ago, as an IT trading company supplying computer systems to the government sector. The group was run by Nart’s father, Yingyong Liuchareon, the founder. That was the time of mainframe-based computing.

The second era of CDG Group started 27 years ago when Nart took over from his father in the era of minicomputers. Nart said the computer market at the time was very small and limited to only the government sector. Only 20 to 30 per cent of organisations had adopted computer systems.

He added that in the first 10 years of his management CDG’s revenue on average increased by more than 30 per cent every year.

“It was a very high-growth period. In the first three years, we grew more than 100 per cent every year. At the time, we were enjoying our growth,” said Nart.

Apart from distributed business strategy, Nart said the group always embraced new technologies to be differentiated from its rivals. CDG was the pioneer in new technologies and new business models, for example a pioneer in the UNIX, open system, and CAD/CAM technology.

“We try to differentiate ourselves [from competitors] so we have to bet on technologies. We won some and lost some times. However, we continued to enjoy growth,” said Nart.

In the last 15 years, as the company expanded, there was duplication of functions and resources. It needed to be reorganised, by merging and regrouping the companies. The move was to reduce cannibalisation among the group’s companies.

Then, CDG Group was offering IT solutions to its main customers, which was mostly the government sector.

The group is behind the government’s IT system, for example the National ID Card system.

“Of our total revenue at the time, 80 per cent came from the government sector, and 20 per cent from the private sector,” said Nart.

As CDG plays a role as a system integrator, which relies on other stakeholders in the business eco-system, including hardware vendors, partners, and importantly customers, Nart said when these people changed their behaviour and business models, CDG also adjusted itself.

Nine years ago, CDG Group had gone for a restructuring. It set up G-Able Group to dedicatedly oversee the private sector, while CDG Group dedicatedly took care of the government market.

Currently, the group’s revenue comes equally from the government and private sector.

“Relying only on the government market is a risk. We set up a new company, G-Able, to take care of the private sector. That really helped us to expand our business footprints,” said Nart.

He admitted that in the first two years of the latest reorganisation, the revenue dropped for two years. After that the revenue picked up.

“The group tries to keep its competitive advantage. We started as a trader, then became system integrator, and now have our own intellectual property by development of software with both vertical and horizontal solutions,” said Nart.

He added that CDG Group and G-Able Group would remain pioneers in new technology areas. For example, the group intends to go for business outsourcing, being a business consultant and mobile computing. Both CDG Group and G-Able Group generate revenue of about Bt5 billion each year, and it keeps growing at 10 per cent per year.

“In the past, technologies were different. We were a distributor who did not need to worry about the market as long as we had the newest technology. But now technologies are the same. The difference is who has the right business innovation, including teams, management, process, approaches and business models, that can attract customers,” said Nart.

NEWS & EVENTS

24 ชั่วโมงสุดเข้มข้น เมื่อพลังคนรุ่นใหม่เข้าสู่เวทีประชันไอเดีย สร้างนวัตกรรมโซลูชันสุดล้ำ กับโจทย์สุดหิน ในงาน CDG Hackathon ซีซัน 2

  นวัตกรรมโซลูชันที่ขับเคลื่อนสังคมได้จริง ไม่จำเป็นต้องมาจากองค์กรใหญ่ที่มีต้นทุนให้ลองผิดถูกเสมอไป แต่เกิดได้จาก ‘เพชชั่น’ และพลังไอเดียแปลกใหม่ของคนรุ่นใหม่  บริษัท คอนโทรล ดาต้า (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทในเครือกลุ่มซีดีจี ผู้นำด้านบริการเทคโนโลยีอัตลักษณ์ดิจิทัล และ 42 Bangkok กำหนดโจทย์ “ระบบวัดส่วนสูงสำหรับผู้ป่วยติดเตียง” เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้สร้างโซลูชัน ผ่านการนำเทคโนโลยีที่ได้พัฒนาผ่านการเขียนโค้ดมาช่วยเหลือเจ้าในหน้าที่ในการวัดส่วนสูงของผู้ป่วย หรือผู้สูงอายุติดเตียง เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ด้านการสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น การประเมินสุขภาพ ตลอดจนพัฒนามาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุ ไอเดียเหล่านี้จะลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำ และเตรียมพร้อมกับความท้าทายของการเข้าสู่สังคมสูงวัย  เหล่าผู้เข้าแข่งขันคนรุ่นใหม่ที่หลากหลายกันออกไปทั้งระดับชั้นที่มีตั้งแต่ระดับชั้น มัธยมศึกษา ไปจนถึงพนักงานประจำ และชาวต่างชาติ รวมทั้งหมดแล้วกว่า 50 คน ต่างรวมตัวกันอยู่ Lifelong Learning Center สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ตั้งแต่วันที่ 18 – 19 พ.ค. 67 ทำงาน กิน นอน ใช้ชีวิตในทุกมุมเป็นระยะเวลากว่า 24 ชั่วโมง ทั้งจับกลุ่มรวม ปรึกษาเมนเทอร์ บริหารแบ่งหน้าที่ ซ้อมพรีเซนเทชัน และเสนอโปรโตไทป์ตัวอย่าง ภาพไม่ต่างกับซีรีย์เกาหลีชื่อดังเรื่องหนึ่ง เพื่อเสกไอเดีย ให้ออกมาเป็นนวัตกรรมที่ยกระดับสังคมในเวลาอันจำกัด   “Hack” กันยันเช้า เพราะหยุดเพียงเสี้ยวนาที อาจคลาดกันการคว้าชัยในสนามที่ไอเดียทุกคนถูกปลุกให้ตื่นเสมอ ทุกมุมของอาคารอเนกประสงค์ คือพื้นที่แห่งการทดลอง แก้ไข ปรับกลยุทธ์ ของทุกทีม เพื่อให้มั่นใจที่สุดว่าไอเดียของตัวเองที่เสนอต่อคณะกรรมการในวันพิชชิ่ง (Pitching Day) ของเช้าวันรุ่งขึ้น จะซื้อใจกรรมการ พร้อมตะโกนให้รู้ว่าพวกเขาคือ “ของจริง”  ภายในเวลาแค่ 10 นาที มันคืออุปสรรคด่านสุดท้ายของทุกทีม เวลานับถอยหลังลงอย่างรวดเร็วนำเสนอไอเดียได้ไม่ดีพอในกรอบเวลา หรือตอบคำถามที่ถูกคณะกรรมการยิงมาต่อเนื่องได้ไม่เคลียร์ เสียงกระดิ่งบอกหมดเวลาอาจหมายถึงอวสานของแนวคิดที่ปั้นกันมาทั้ง 24 ชั่วโมง เพราะแม้ไอเดียจะล้ำค่าเพียงใด แต่สิ่งสำคัญมันจะเป็นไปได้มากแค่ไหน? จะไปต่ออย่างไร? หรือแน่ใจได้อย่างไรว่าระบบจะเสถียรและแม่นยำได้มากพอจะใช้งานมัน” ซึ่งบางคำถามก็ปราบเซียนจนบางทีมไปไม่เป็น  กระนั้น คำถามที่กระหน่ำโถมเข้ามา ก็ไม่สามารถหยุดยั้งความเชื่อมั่นในไอเดียของตนเองได้ และนี่คือโฉมหน้าของทีมชนะเลิศ ที่พิสูจน์ตัวเองในการเอาชนะกับสมรภูมิพิชชิ่งเดย์ นอกจากจะได้เงินรางวัล 70,000 แล้วนั้น ก็ได้เปิดประตูตัวเองเข้าสู่อนาคตในวงการเทคโนโลยี และแน่นอนกลุ่มบริษัทซีดีจี เองก็มองเห็นโอกาสจากนวัตกรรมที่เกิดขึ้น และพร้อมสนับสนุนผลักดันให้ไอเดียเหล่าได้เติบโต แข็งแรง และผสานความร่วมมือซึ่งกันและกัน    TEES นวัตกรรมโซลูชัน วัดส่วนสูงผู้สูงวัย และผู้ป่วยติดเตียงจาก “ใบหน้า”   TEES คือทีมชนะเลิศประจำการแข่งขันในซีซันนี้ ด้วยการคิดค้นไอเดียที่แทบจะเป็นไปไม่ได้ จากการวัดส่วนสูงทั้งหมดที่อาศัยเพียงสัดส่วนของ “ใบหน้า” เท่านั้น จากผลงานสุดว้าวส่งผลให้พวกเขาทะยานขึ้นจุดสูงสุดของการแข่งขันด้วยรางวัลชนะเลิศ และคว้าเงินรางวัลกว่า 70,000 บาทมาครอง   4 คนรุ่นใหม่สายเลือดประเทศเมียนมา นักศึกษาจาก ม.ลาดกระบัง คือม้ามืดนอกสายตาที่ไม่ได้มีความโดดเด่นอะไรมากนัก แต่กลับสร้างความตื่นเต้นทันทีเมื่อยืนอยู่บนเวทีนำเสนอผลงาน พร้อมกับผลงานที่ ฉีกจากกลุ่มอื่น ๆ โดยสิ้นเชิงด้วยกับผลงานใบหน้า ที่แทนส่วนสูงของผู้ป่วย    “การใช้โซลูชันที่ล้ำสมัยอาจมีค่าใช้จ่ายสูง และเกิดความยุ่งยากซับซ้อน เช่น กล้องขาตั้งขนาดใหญ่ หรือคนที่คอยจัดการท่าทางต่าง ๆ เพื่อให้ผลลัพธ์ออกมาเสถียร แต่ของเรานั้นรวดเร็ว ง่ายดาย เพียงแค่สมาร์ทโฟนที่สามารถถ่ายบริเวณใบหน้าก็เพียงพอแล้ว นี่คือเหตุผลที่เราเลือกแนวทางนี้ และเชื่อว่าจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมได้แน่นอน” ทูรา ออง หนึ่งในสมาชิกทีมกล่าว  “ด้วยระยะเวลาแค่ข้ามคืน มันเหมือนดึงศักยภาพเราออกมาเต็มที่โดยที่เราไม่รู้ตัว และที่สำคัญคือการพิสูจน์ว่าสิ่งที่เราเชื่อคือสิ่งที่ตอบโจทย์สังคมหรือเปล่า การแข่งขันครั้งนี้ช่วยให้เราสามารถทดสอบศักยภาพตัวเองว่า เราเจ๋งแค่ไหน แพทชั่นมีแค่ไหน” เอย มยัต เว กล่าวทิ้งท้าย    ผลลัพธ์อันแสนจะโดดเด่นจากพลังคนรุ่นใหม่จากหลายทีมแสดงให้เห็นว่าโซลูชันใหม่ ๆ ไม่ต้องใช้เวลานานเสมอไป แต่หัวใจสำคัญเลยคือทีมเวิร์ก ความหลากหลายของทักษะ มุมมอง หลอมรวมกันผ่าน แพชชั่นในเรื่องเดียวกัน เป็นเหมือนน้ำมันหล่อลื่นให้ไอเดียนี้เป็นจริงได้ทันที ส่งผลให้เกิดความสร้างสรรค์ของไอเดียที่ตอบโจทย์สังคมที่ท้าทายอย่างไม่รู้จบ     กลุ่มบริษัทซีดีจี ภายใต้โครงการ “Code Their Dreams” เชื่อมั่นว่า การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่สามารถช่วยพัฒนาการศึกษาและความพร้อมด้านเทคโนโลยี เพื่อนำไปต่อยอดในอนาคตได้ ซึ่งการแข่งขัน Hackathon ครั้งนี้ น้อง ๆ ทุกคนต่างบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า แม้ไม่ได้รางวัลกลับไป แต่สิ่งสำคัญคือการจุดประกายไฟในตัวเอง ผ่านการทำงานกับคนเก่ง ๆ ตลอดจนได้ความรู้และประสบการณ์ใหม่ ๆ ช่วยติดอาวุธพร้อมสำหรับยกถัดไปในเวทีต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี 

24 ชั่วโมงสุดเข้มข้น เมื่อพลังคนรุ่นใหม่เข้าสู่เวทีประชันไอเดีย สร้างนวัตกรรมโซลูชันสุดล้ำ กับโจทย์สุดหิน ในงาน CDG Hackathon ซีซัน 2

นวัตกรรมโซลูชันที่ขับเคลื่อนสังคมได้จริง ไม่จำเป็นต้องมาจากองค์กรใหญ่ที่มีต้นทุนให้ลองผิดถูกเสมอไป แต่เกิดได้จาก ‘เพชชั่น’ และพลังไอเดียแปลกใหม่ของคนรุ่นใหม่        บริษัท คอนโทรล ดาต้า (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทในเครือกลุ่มซีดีจี ผู้นำด้านบริการเทคโนโลยีอัตลักษณ์ดิจิทัล และ 42 Bangkok กำหนดโจทย์ “ระบบวัดส่วนสูงสำหรับผู้ป่วยติดเตียง” เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้สร้างโซลูชัน ผ่านการนำเทคโนโลยีที่ได้พัฒนาผ่านการเขียนโค้ดมาช่วยเหลือเจ้าในหน้าที่ในการวัดส่วนสูงของผู้ป่วย หรือผู้สูงอายุติดเตียง เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ด้านการสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น การประเมินสุขภาพ ตลอดจนพัฒนามาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุ ไอเดียเหล่านี้จะลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำ และเตรียมพร้อมกับความท้าทายของการเข้าสู่สังคมสูงวัย        เหล่าผู้เข้าแข่งขันคนรุ่นใหม่ที่หลากหลายกันออกไปทั้งระดับชั้นที่มีตั้งแต่ระดับชั้น มัธยมศึกษา ไปจนถึงพนักงานประจำ และชาวต่างชาติ รวมทั้งหมดแล้วกว่า 50 คน ต่างรวมตัวกันอยู่ Lifelong Learning Center สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ตั้งแต่วันที่ 18 – 19 พ.ค. 67 ทำงาน กิน นอน ใช้ชีวิตในทุกมุมเป็นระยะเวลากว่า 24 ชั่วโมง ทั้งจับกลุ่มรวม ปรึกษาเมนเทอร์ บริหารแบ่งหน้าที่ ซ้อมพรีเซนเทชัน และเสนอโปรโตไทป์ตัวอย่าง ภาพไม่ต่างกับซีรีย์เกาหลีชื่อดังเรื่องหนึ่ง เพื่อเสกไอเดีย ให้ออกมาเป็นนวัตกรรมที่ยกระดับสังคมในเวลาอันจำกัด   “Hack” กันยันเช้า เพราะหยุดเพียงเสี้ยวนาที อาจคลาดกันการคว้าชัยในสนามที่ไอเดียทุกคนถูกปลุกให้ตื่นเสมอ ทุกมุมของอาคารอเนกประสงค์ คือพื้นที่แห่งการทดลอง แก้ไข ปรับกลยุทธ์ ของทุกทีม เพื่อให้มั่นใจที่สุดว่าไอเดียของตัวเองที่เสนอต่อคณะกรรมการในวันพิชชิ่ง (Pitching Day) ของเช้าวันรุ่งขึ้น จะซื้อใจกรรมการ พร้อมตะโกนให้รู้ว่าพวกเขาคือ “ของจริง”        ภายในเวลาแค่ 10 นาที มันคืออุปสรรคด่านสุดท้ายของทุกทีม เวลานับถอยหลังลงอย่างรวดเร็วนำเสนอไอเดียได้ไม่ดีพอในกรอบเวลา หรือตอบคำถามที่ถูกคณะกรรมการยิงมาต่อเนื่องได้ไม่เคลียร์ เสียงกระดิ่งบอกหมดเวลาอาจหมายถึงอวสานของแนวคิดที่ปั้นกันมาทั้ง24 ชั่วโมง เพราะแม้ไอเดียจะล้ำค่าเพียงใด แต่สิ่งสำคัญมันจะเป็นไปได้มากแค่ไหน? จะไปต่ออย่างไร? หรือแน่ใจได้อย่างไรว่าระบบจะเสถียรและแม่นยำได้มากพอจะใช้งานมัน” ซึ่งบางคำถามก็ปราบเซียนจนบางทีมไปไม่เป็น        กระนั้น คำถามที่กระหน่ำโถมเข้ามา ก็ไม่สามารถหยุดยั้งความเชื่อมั่นในไอเดียของตนเองได้ และนี่คือโฉมหน้าของทีมชนะเลิศ ที่พิสูจน์ตัวเองในการเอาชนะกับสมรภูมิพิชชิ่งเดย์ นอกจากจะได้เงินรางวัล 70,000 แล้วนั้น ก็ได้เปิดประตูตัวเองเข้าสู่อนาคตในวงการเทคโนโลยี และแน่นอนกลุ่มบริษัทซีดีจี เองก็มองเห็นโอกาสจากนวัตกรรมที่เกิดขึ้น และพร้อมสนับสนุนผลักดันให้ไอเดียเหล่าได้เติบโต แข็งแรง และผสานความร่วมมือซึ่งกันและกัน   TEES นวัตกรรมโซลูชัน วัดส่วนสูงผู้สูงวัย และผู้ป่วยติดเตียงจาก “ใบหน้า” TEES คือทีมชนะเลิศประจำการแข่งขันในซีซันนี้ ด้วยการคิดค้นไอเดียที่แทบจะเป็นไปไม่ได้ จากการวัดส่วนสูงทั้งหมดที่อาศัยเพียงสัดส่วนของ “ใบหน้า” เท่านั้น จากผลงานสุดว้าวส่งผลให้พวกเขาทะยานขึ้นจุดสูงสุดของการแข่งขันด้วยรางวัลชนะเลิศ และคว้าเงินรางวัลกว่า 50,000 บาทมาครอง 4 คนรุ่นใหม่สายเลือดประเทศเมียนมา นักศึกษาจาก ม.ลาดกระบัง คือม้ามืดนอกสายตาที่ไม่ได้มีความโดดเด่นอะไรมากนัก แต่กลับสร้างความตื่นเต้นทันทีเมื่อยืนอยู่บนเวทีนำเสนอผลงาน พร้อมกับผลงานที่ ฉีกจากกลุ่มอื่น ๆ โดยสิ้นเชิงด้วยกับผลงานใบหน้า ที่แทนส่วนสูงของผู้ป่วย “การใช้โซลูชันที่ล้ำสมัยอาจมีค่าใช้จ่ายสูง และเกิดความยุ่งยากซับซ้อน เช่น กล้องขาตั้งขนาดใหญ่ หรือคนที่คอยจัดการท่าทางต่าง ๆ เพื่อให้ผลลัพธ์ออกมาเสถียร แต่ของเรานั้นรวดเร็ว ง่ายดาย เพียงแค่สมาร์ทโฟนที่สามารถถ่ายบริเวณใบหน้าก็เพียงพอแล้ว นี่คือเหตุผลที่เราเลือกแนวทางนี้ และเชื่อว่าจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมได้แน่นอน” ทูรา ออง หนึ่งในสมาชิกทีมกล่าว “ด้วยระยะเวลาแค่ข้ามคืน มันเหมือนดึงศักยภาพเราออกมาเต็มที่โดยที่เราไม่รู้ตัว และที่สำคัญคือการพิสูจน์ว่าสิ่งที่เราเชื่อคือสิ่งที่ตอบโจทย์สังคมหรือเปล่า การแข่งขันครั้งนี้ช่วยให้เราสามารถทดสอบศักยภาพตัวเองว่า เราเจ๋งแค่ไหน แพทชั่นมีแค่ไหน” เอย มยัต เว กล่าวทิ้งท้าย   ผลลัพธ์อันแสนจะโดดเด่นจากพลังคนรุ่นใหม่จากหลายทีมแสดงให้เห็นว่าโซลูชันใหม่ ๆ ไม่ต้องใช้เวลานานเสมอไป แต่หัวใจสำคัญเลยคือทีมเวิร์ก ความหลากหลายของทักษะ        มุมมอง หลอมรวมกันผ่าน แพชชั่นในเรื่องเดียวกัน เป็นเหมือนน้ำมันหล่อลื่นให้ไอเดียนี้เป็นจริงได้ทันที ส่งผลให้เกิดความสร้างสรรค์ของไอเดียที่ตอบโจทย์สังคมที่ท้าทายอย่างไม่รู้จบ กลุ่มบริษัทซีดีจี ภายใต้โครงการ “Code Their Dreams” เชื่อมั่นว่า การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่สามารถช่วยพัฒนาการศึกษาและความพร้อมด้านเทคโนโลยี เพื่อนำไปต่อยอดในอนาคตได้ ซึ่งการแข่งขัน Hackathon ครั้งนี้ น้อง ๆ ทุกคนต่างบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า แม้ไม่ได้รางวัลกลับไป แต่สิ่งสำคัญคือการจุดประกายไฟในตัวเอง ผ่านการทำงานกับคนเก่ง ๆ ตลอดจนได้ความรู้และประสบการณ์ใหม่ ๆ ช่วยติดอาวุธพร้อมสำหรับยกถัดไปในเวทีต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี

เขย่าวงการโลจิสติกส์! จับตา ‘นอสตร้า โลจิสติกส์’ สยายปีกรุกตลาดผู้ผลิตด้วย NOSTRA LOGISTICS TMS แพลตฟอร์มบริหารงานขนส่งอัจฉริยะ ชู AI สร้างความต่าง ยกระดับงานขนส่งภาคอุตสาหกรรม

NOSTRA LOGISTICS พร้อมเดินเกมรุกก้าวสู่ผู้นำเทคโนโลยีแพลตฟอร์มบริหารงานขนส่งในตลาดเทคโนโลยีโลจิสติกส์เต็มกำลัง มุ่งตอบโจทย์ความต้องการของคู่ค้าธุรกิจภาคอุตสาหกรรมการผลิต หรือ 1PL (First Party Logistics) ผลักดันแพลตฟอร์ม “NOSTRA LOGISTICS TMS” พลิกโฉมนวัตกรรมการขนส่งอัจฉริยะ ชูกลยุทธ์ขับเคลื่อนด้วย AI และ Data Analytics เสิร์ฟคู่ค้าด้วยโซลูชันที่ช่วยยกระดับการวิเคราะห์ และการบริหารทรัพยากรที่คุ้มค่า ลดต้นทุน พร้อมเชื่อมต่อกับพันธมิตรงานขนส่งครบทุกมิติ ติดอาวุธเสริมแกร่งให้ทุกธุรกิจแข็งแกร่งเติบโตในระยะยาวอย่างยั่งยืน   นอสตร้า โลจิสติกส์ (NOSTRA LOGISTICS) ผู้ให้บริการโซลูชัน และเทคโนโลยีแพลตฟอร์มการขนส่งอัจฉริยะ สำหรับงานโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ซึ่งเป็นหนึ่งธุรกิจในเครือกลุ่มบริษัท ซีดีจี พร้อมเดินเกมรุกดัน “NOSTRA LOGISTICS TMS แพลตฟอร์มบริหารจัดการงานขนส่งอัจฉริยะ” สู่ธุรกิจภาคอุตสาหกรรมการผลิต ต่อยอดการใช้ AI และ Data Analytics มาพัฒนาเป็นนวัตกรรมโซลูชันที่ยกระดับในทุกกระบวนการทำงานตั้งแต่ต้นน้ำสู่ปลายน้ำ ที่ครบจบในแพลตฟอร์มเดียว และเชื่อมต่อข้อมูลให้เป็นส่วนหนึ่งกับระบบหลังบ้านเดิมของคู่ค้าได้อย่างกลมกลืน พลิกโฉมคู่ค้าให้สามารถบริหารจัดการงานขนส่งที่ท้าทาย ซับซ้อน ให้สะดวก รวดเร็ว และคุ้มค่าการลงทุน   นางวรินทร สีสุขดี ผู้อำนวยการอาวุโสส่วนซัพพลายเชนโซลูชัน-เทคโนโลยี บริษัท จีไอเอส จำกัด เปิดเผยว่า จากผลวิจัยกรุงศรีฯ คาดการณ์ เศรษฐกิจไทยจะขยายตัวเฉลี่ย 3.4% ต่อปีในช่วงปี 2567-2569 ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยในช่วง 10 ปีก่อนเกิดการระบาด COVID-19 (ปี 2553-2562) อยู่ที่ 3.7% โดยในส่วนของภาคอุตสาหกรรมการผลิตนั้นปัจจัยการเติบโตจะได้รับอิทธิพลจากภาคการท่องเที่ยว และการสนับสนุนจากนโยบายของภาครัฐเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม คุณวรินทร เสริมต่อว่า หากมองที่อุตสาหกรรมการผลิตอย่างเดียว ปัจจัยสำคัญที่จะขับเคลื่อนการเติบโตต่อเนื่องในช่วง 3 ปีข้างหน้า คือ การเร่งเครื่องพัฒนาโซลูชันไอทีให้ครบวงจร จะเป็นจิ๊กซอว์สำคัญที่จะทำให้ธุรกิจก้าวข้ามปัญหานี้ได้ เพราะที่ผ่านมาเราพบว่าภาคธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต ยังติดหล่มอยู่กับปัญหาเดิม ๆ ด้านโลจิสติกส์ เช่น การจัดการข้อมูลการขนส่ง การบริหารขั้นตอนการขนส่ง รวมถึงการบริหารบริษัทเอาท์ซอร์สขนส่งให้เป็นระบบ ลดการผิดพลาด และคุ้มค่า เพราะต้นทุนสูงและควบคุมได้ยาก   Resource Optimization & VRP การจัดสรรทรัพยากรรถขนส่ง การเลือกสินค้าและรถขนส่งสินค้า ที่สามารถกำหนดเงื่อนไขได้ เช่น ประเภทรถ ขนาดบรรทุก กรอบเวลาในการจัดส่ง รวมถึงต้นทุนต่อเที่ยววิ่ง โดยสามารถจัดสรรได้ทั้งรถขนส่งขององค์กรเองหรือรถรับจ้างบริการขนส่ง โดยระบบจะวิเคราะห์ และเสนอทางเลือกพร้อมคำนวณต้นทุนค่าใช้จ่ายค่าเที่ยววิ่ง เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ เช่น ต้นทุนต่ำที่สุด เส้นทางที่ดีที่สุด หรือเลือกตามโควตาการใช้รถขนส่งของผู้รับจ้างขนส่งแต่ละราย Outsource Management การบริหารจัดการผู้ให้บริการขนส่ง เพื่อเชื่อมต่อข้อมูลและร่วมบริหารงานขนส่ง เช่น จัดโควตา จัดเกรดผลการทำงาน ต้นทุนค่าเที่ยววิ่ง และติดตามเที่ยววิ่งรถแบบเรียลไทม์ผ่าน Dashboard ที่จะเห็นภาพรวม และติดตามงานขนส่งได้ราวกับขนส่งด้วยตนเอง Seamless Integration การบูรณาการเข้ากับระบบอื่น ๆ เช่น WMS, ERP หรือโปรแกรมบัญชี เพื่อลดความจำเป็นและความผิดพลาดการในป้อนข้อมูลซ้ำซ้อน ด้วยการแชร์ข้อมูลร่วมกัน ทำให้ธุรกิจมี Ecosystem ที่เชื่อมต่อกัน และทำงานได้เป็นหนึ่งเดียวในทุกกระบวนการ   “ที่ผ่านมาเรามุ่งมั่นพัฒนานวัตกรรมด้านโลจิสติกส์มาโดยตลอด และตั้งใจจะเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันของตลาดนี้ให้ก้าวไปอีกขั้น ผ่านบทบาทการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจที่พัฒนาโซลูชั่นให้เหมาะสมกับธุรกิจทุกประเภทได้มีระบบการบริหารงานขนส่งที่ ‘อัจฉริยะ’ นีคือโมเดลธุรกิจที่ทำให้เราแตกต่าง พร้อมก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยี และเป็นฟันเฟืองสำคัญในการผลักดันตลาดนี้ให้เติบโตยั่งยืน” คุณวรินทร ทิ้งท้าย  

CDG executive, Dr. Thanaporn Thitisawat has achieved a notable feat by winning the “Leader of Technology” award in the Technology category at the esteemed Future Trends Ahead & Awards 2024 event.

Recognized as one of the premier seminars and awards ceremonies of the year, we saw participation from over 360 organizations in Thailand, all competing for recognition. Alongside celebrating current achievements, the event also shed light on anticipated future trends for 2024 across various sectors, including the economy, business, marketing, technology, sustainability, and more, offering valuable insights for organizations striving to lead in the future business landscape. The Future Trends Leader Awards acknowledges organizational leaders who demonstrate expertise and innovation in aligning technology trends with their organizations’ goals. The selection process for these awards, took place on February 7, 2024. The selection process involved evaluation by a committee of experts, analysis of data from Social Listening Tools, and input from external voters. With a robust competition among numerous organizations, the awards ceremony recognized leaders and trendsetters across various categories, with a total of 95 awards presented to outstanding individuals and organizations. Dr. Thanaporn Thitisawat, the former President and current Managing Director and leader of CDG Group’s GIS Business, emerged as the winner of the Future Trends Leader Award in the “Leader of Technology” category. Dr. Thitisawat’s leadership exemplifies innovation, usability, and integrity, key criteria in the selection process. CDG Group’s commitment to leveraging technology for societal betterment and its focus on providing IT solutions to support governmental, enterprise, and private sector initiatives reflect their dedication to driving positive change and achieving business goals efficiently. Furthermore, the Future Trends Ahead & Awards 2024 event offered insights into emerging trends across various business domains, providing organizations with valuable guidance to navigate and excel in the evolving business landscape. This emphasis on future-oriented strategies underscores the importance of adaptability and innovation for organizations aiming to lead in the business era of tomorrow.

CDGS ร่วม กกพ. ปิดโครงการ พัฒนาระบบจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการกํากับกิจการพลังงาน (Data science and analytics) โดยเชื่อมโยงกับแพลตฟอร์มการแบ่งปันข้อมูล (ERC Data Sharing)

CDGS ร่วม กกพ. ปิดโครงการ พัฒนาระบบจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการกํากับกิจการพลังงาน (Data science and analytics) โดยเชื่อมโยงกับแพลตฟอร์มการแบ่งปันข้อมูล (ERC Data Sharing) คุณปริญญา ผลพฤกษสกุล ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซีดีจี ซิสเต็มส์ จำกัด (CDGS) ในกลุ่มบริษัท ซีดีจี ร่วมพิธีปิดโครงการพัฒนาระบบจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการกํากับกิจการพลังงาน ที่จัดขึ้นโดย สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หรือ กกพ. โดยมีหน่วยงานระดับประเทศ อาทิ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เข้าร่วม ณ โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ จากนั้น ตัวแทนจาก บริษัท ซีดีจี ซิสเต็มส์ จำกัด (CDGS) ยังได้ร่วมกับที่ปรึกษาโครงการ ฯ เสวนาร่วมกันเพื่อสรุปผลการดำเนินงานที่ได้รับจากการศึกษาดูงานทั้ง 4 ภาค ของประเทศไทย เพื่อใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใช้ในการพัฒนาระบบต่างๆ เพื่อนําไปใช้ในการพัฒนาระบบข้อมูลของกกพ. ต่อไป

CDG and KMUTNB Expedite Coding Trainer to Support Digital Labour Markets

CDG Group, Thailand’s leading technology solution provider, the founder of the “CDG Code Their Dreams” project, and the Department of Computer Education, Faculty of Technical Education, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, signed an MOU on academic collaboration to conduct the “CDG Code Their Dreams: Public Training” project to offer the program on computer programming and application of computer software and electronic tools. The students, teachers, and the general public attending the program will have a chance to learn coding techniques and other computer software skills.